หญิงไทยและชุมชนไทย วันนี้ ในเยอรมนี

“หญิงไทยและชุมชนไทย วันนี้ ในเยอรมนี”
พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง ค.ศ. 2014
สถานะ: “หนังสือหมดแล้ว”
นักวิชาการไทยและนักพัฒนาสังคมชาวไทยในเยอรมนีได้ร่ว มกันนำเสนอภาพของผู้หญิงไทยและตัวตนของชุมชนไทยในประ เทศเยอรมนี โดยใช้กรอบคิดและการพิจารณาวิเคราะห์ปัญหาของคนไทยใน พื้นที่(ประเทศเยอรมนี) ผ่านบทความสั้นๆ ให้ข้อมูลและภาพผู้หญิงไทยในอีกด้านหนึ่ง ซึ่งอาจแตกต่างไปอีกด้านหนึ่งของภาพผู้หญิงไทย ที่มีการเผยแพร่อย่างซ้ำแล้วซ้ำเล่าในสังคมไทยและเยอ รมัน และตอกย้ำให้เห็นถึงการดำรงอยู่ และพัฒนาการของชุมชนไทย ด้วยการมองปัญหาโดย “คนใน” ที่สัมผัสกับปัญหาโดยตรง มิใช่มุมมองของ “คนนอก” ที่เข้ามาศึกษาอย่างฉาบฉวย
ท่านจะได้เรียนรู้เรื่องราวดีๆ มากมายดังนี้
บทนำ 40 ปีการเคลื่อนย้ายประชากรหญิงไทยมาเยอรมนี
ตอนที่ 1 ภาพรวม: หญิงไทย และชุมชนไทย วันนี้ในเยอรมนี
บทที่ 1 สถานการณ์คนไทย 2555: ตัวเลขสถิติและปัญหา
ตอนที่ 2 หญิงไทยในเยอรมนี.
บทที่ 2 หญิงไทยในฐานะภรรยาฝรั่ง(เยอรมัน)และมารดาของลู กติด
บทที่ 3 หญิงไทยและชายไทยแปลงเพศ ในงานค้าประเวณีในประเทศเยอรมนี
ตอนที่ 3 นักวิชาชีพไทย
บทที่ 4 การเรียนการสอนภาษาไทยที่ภาควิชาไทยศึกษา
บทที่ 5 บางแง่เกี่ยวกับงานแปลวรรณกรรมภาษาเยอรมัน
บทที่ 6 วิชาชีพล่าม: มุมมองของล่ามไทย
บทที่ 7 เตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานแพทย์และพยาบาลในเยอรม นี: จากประสบการณ์พยาบาลไทย
บทที่ 8 ประสบการณ์เป็นนักข่าว(อิสระ) 5 ปี ในยุโรป(เยอรมนี)
บทที่ 9 การทำงานช่วยเหลือคนไทยในองค์กรเยอรมัน
บทที่ 10 การประกอบกิจการส่วนตัวของคนไทยในเยอรมนี
ตอนที่ 4 แรงงานไทย
บทที่ 11 แรงงาน(แม่บ้านไทย)ในเยอรมนี
บทที่ 12 ตามล้าง & ตามเช็ด: อาชีพทำความสะอาดในเยอรมนี
ตอนที่ 5 ศิลปินไทย
บทที่ 13 นางแบบบอดี้เพ้นท์ติ้งและโฟโต้โมเดล
บทที่ 14 พู่ไท ศิลปินไทยในเยอรมนี
บทที่ 15 เสียงดนตรีไทย ในศูนย์กศน.ฮัมบวร์ก
บทที่ 16 การตั้งกลุ่มนาฏศิลป์ไทย
บทที่ 17 กลุ่มรำไทยในเบอร์ลิน
ตอนที่ 6 วิถีชีวิตไทยในเยอรมนี
บทที่ 18 การทำงานกับคนเยอรมันในศูนย์ให้ความช่วยเหลือ
บทที่ 19 หญิงไทยต้องไปขึ้นศาล: ประสบการณ์ของล่าม
บทที่ 20 ภาพลักษณ์ของหญิงไทยในสังคมเยอรมัน การเลือกปฎิบัติ – ระหว่างลัทธิการเหยียดเชื้อชาติ เพศและชนชั้น
บทที่ 21 สนามหลวงไทยในเบอร์ลิน
บทที่ 22 งานไทยในเยอรมนี
บทที่ 23 เล่าเรื่องการจัดงานไทย
ตอนที่ 7 กลุ่ม ชมรม สมาคมไทยในเยอรมนี: ศักยภาพและความพยายามในการดูแลตนเอง
บทที่ 24 อาสาสมัครไทยในเยอรมนี: โครงสร้าง ปัญหา และทางออก
บทที่ 25 สมาคมธารา
บทที่ 26 โรงเรียนสอนภาษาเยอรมันสมาคมไทยอาสา
บทที่ 27 จนมาเป็น สมาคมไทยสปาแห่งประเทศเยอรมนี
บทที่ 28 สมาคมศิลปวัฒนธรรมไทย เฮเกา-โบเดนเซ
บทที่ 29 สมาคมกระต่ายสามตัว
บทที่ 30 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในต่างปร ะเทศ: ศูนย์การเรียน กศน. ฮัมบวร์ก
บทที่ 31 โรงเรียนรักเมืองไทย
บทที่ 32 วัดไทย
บทที่ 33 กลุ่มไทยเพื่อการช่วยตนเอง (Thai SHG)
บทที่ 34 ชมรมไทยเพื่อเพื่อนไทย เมืองแอร์ลังเงน
บทที่ 35 รักษ์ไท กลุ่มคนไทยในนอยมึนสเตอร์และเมืองใกล้เคียง
บทที่ 36 เครือข่ายคนไทยในต่างแดน ประเทศเยอรมนี (NTO)
บทที่ 37 แนวทางการส่งเสริมสนับสนุนชุมชนไทยในเยอรมนี